วันพฤหัสบดีที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2555

วิจัย เรื่อง โคมไฟประดิษฐ์


โครงร่างงานวิจัยของนักศึกษา


งานวิจัยเรื่อง โคมไฟสื่ออารมณ์ Mood lighting

ชื่อผู้ทำวิจัย นาย นพรัตน์ ชูดรุ่ง
รหัสประจำตัว 5311322688
สาขาวิชาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์)
ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์


ความเห็นของอาจารย์ที่ปรึกษาโครงการวิจัย.....................................................................
............................................................................................................................................

ลงชื่อ .............................................
(...........................................)





คณบดีหรือรองคณบดีพิจารณาเห็นชอบ
................................................................................................................................................

ลงชื่อ ............................................
(...........................................)






ข้อเสนอการวิจัยเพื่อขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษมประเภทนักศึกษา


ส่วน ก : ลักษณะทั่วไปของโครงการวิจัย
1. ปีการศึกษาที่เสนอขอรับทุน ................
2. ประเภทการวิจัย
( ) การวิจัยสำรวจ ( ) การวิจัยทดลอง ( ) การวิจัยและพัฒนา
3. งบประมาณที่เสนอขอทุน 5,000 บาท
4. ระยะเวลาในการทำวิจัย 1 ปี

ส่วน ข : รายละเอียดการทำวิจัย
1. ชื่อโครงการวิจัย โคมไฟสื่ออารมณ์ Mood lighting
2. ที่มาและความสำคัญของปัญหาการวิจัย
ปัจจุบันมนุษย์เรามีการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมหมุนเวียนกันอยู่ตลอด 24 ชม. จากเด็กจนถึงผู้ใหญ่ก็จะมีการพัฒนาในด้านการดำรงชีวิตแตกต่างกันไป แต่ในปัจจุบันนี้เอง เวลาการดำรงรงชีวิตของมนุษย์เราในช่วงเวลากลางคืนเริ่มมีมากขึ้น จากที่เคยทำงานตามเวลาปกติ ก็จะมีการทำงานล่วงเลยเวลากันมาพอสมควร หรือที่เรียกกันว่า “Part time” ในขนาดที่มนุษย์รำรงชีวิตในตอนกลางคืนนั้น แต่ละคนก็ต้องเจอแสงไฟแสงสีมากมายจากบริเวณที่เดินหรือผ่านไป แสงที่ที่เราพบเห็นนั้นมีความสวยงามกระตุ้นอารมณ์กระตุ้นความรู้สึกของคนที่พบเห็นแตกต่างกันไป จึงก่อให้เกิดความคิดที่จะลองทำลองวิจัยโคมไฟแต่ละสีๆออกมา เผื่อเปรียบเทียบความรู้สึกของคนที่พบเห็นโคมไฟสีนั้นๆ จะมีอิทธิพลการแสดงอาการตอบสนองกับโคมอย่างไร
การออกแบโคมไฟชิ้นนี้เผ็นงานHANDMAED ที่เน้นความคิดสร้างสันซึ่งมีความแปลกใหม่ชอบและรักการตกแต่งหรือชอบสะสมสิ่งที่แปลกใหม่ ไม่จำกัดว่าจะเป็นกลุ่มคนเพศไหน หรือว่าเป็นหน่วยงานไหน แต่จะอยู่ในช่วงอายุระหว่าง 20-50ปี เป็นกลุ่มคนที่ทำงานแล้วและมีกำลังการซื้อ ผลิตภัณฑ์ที่ได้ทำการออกแบบเพ้นท์นี้ สามารถพัฒนาเป็นสินค้า OTOP เพื่อสร้างรายได้ให้กับกลุ่มคนที่มีฝีมือในด้านการสร้างสรรค์งานประดิษฐ์ (สมเกียรติ ชมชื่น,2551 : 13) เพื่อเป็นสินค้าส่งออกหรือส่งขายตามห้างชั้นนำในประเทศได้อีกด้วย สำหรับวัสดุที่ใช้ได้แก่
  • ไม้กระดาษอัด
  • ไม่เสียบลูกชิ้น
  • กระดาษสา 99
  • กาวน์ มีด กรรไกร ไม้บรรทัด ดินสอ
  • สายไฟ ขั้วหลอด หลอดไฟ
ปัจจุบันผู้คู่แข่งในการออกแบบทางการตลาดมีอยู่มากมายดังนั้นเราจึงต้องหาความแตกต่างทางการค้าของตัวสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ที่จะออกว่างจำหน่ายให้มีภาพลักษณ์ที่โดดเด่นกว่าคนอื่นเพื่อเป็นที่สะดุดตาและน่าจดจำแก่ผู้พบเห็น โดยการใช้ชุดสีแบบหลักการใช้สีประกอบรวมแบบวรรณะ(TONE) โดยจะเน้นให้เกิดความกลมกลืนด้วยสีต่างวรรณะจะไม่ใช้สีเพิ่งวรรณะใดวรรณะหนึ่งโดดเดี่ยว โดยจะกำหนดอัตราการใช้สีให้เกิดการตัดกันมากน้อยไว้ การออกแบบเพ้นท์จะสามารถสะท้อนอารมณ์ความรู้สึกและสิ่งที่มนุษย์นึกคิดได้เป็นอย่างดีจากลวดลายและสีสันที่ใช้ในการเพ้นท์งานแต่ละชิ้น จึงได้นำเอาการออกแบบเพ้นท์มาประยุกต์เพื่อสร้างภาพลักษณ์ความแตกต่างให้กับตัวของผลิตภัณฑ์
3. วัตถุประสงค์การวิจัย
3.1 เพื่อศึกษากระบวนการออกแบบศิลปะการประดิษฐ์โคมไฟ
3.2 เพื่อผลิตต้นแบบเหมือนจริง (PROTOTYPE) ของศิลปะการประดิษฐ์โคมไฟที่จัดทำเป็นงานวิจัย

4. สมมติฐานการวิจัย
เกิดจากการที่ได้เห็นโคมไฟตามร้านค้าทั่วไปยังเป็นแบบเรียบๆธรรมดาไม่มีลวดลายจึงเกิดแนวความคิดที่จะประดิษฐ์และเพ้นท์สีลวดลายลงไปบนโคมไฟให้ มีความแตกต่างและเพิ่มมูลค่าไปจากเดิมเพื่อที่จะได้ไปจัดตกแต่งโชว์ในสถานที่ต่างๆและเป็นสินค้าที่สามารถสร้างรายได้เพิ่มขึ้น งานที่ได้ทำการออกแบบไว้เป็นตัวโคมไฟที่มีความเรียบง่ายแต่เน้นที่เอกลักษณ์ส่วนตัวลวดลายที่ไม่มีใครเหมือนและไม่เหมือนใคร สีลวดลายของโคมไฟจะเป็นสีสันที่ดูสบายตามีความสร้างสรรค์มีความเป็นเอกลักษณ์ของตัวโคมนั้นๆ

5. GENALATION
Generation Y (Why I was born?)
gen Y
คือ ผู้ที่กำลังก้าวเข้ามาสู่วัยทำงาน
หากดูจากหลายๆตำราแล้ว gen Y จะจัดเป็นกลุ่มคนอายุตั้งแต่ 15 - 30 ต้นๆ เป็นกลุ่มคนที่เกิดมาพร้อมกับความสงสัย เป็นรุ่นลูกของ gen X และมีปู่ย่าตายายเป็น gen B เป็นกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่เกิดมาด้วยความเพียบพร้อม และความสับสน
กลุ่มตัวอย่างที่มุงเน้นไปคือ Gen Y


6. ขอบเขตการวิจัย
6.1 แบบร่าง(IDEA SKETCH)
6.2 แบบที่ทำการสรุป(CONCEPT SKETCH)
6.3 แบบเพื่อนำไปผลิต(WORKING DRAWING หรือ ART WORK)
6.4 ต้นแบบเหมือนจริง(PROTOTYPE)
6.5 รายงานการวิจัยจำนวน 3 ฉบับ
6.6 ซีดีรายงานการวิจัยจำนวน 1 ชุด

7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
    1. กระบวนการออกแบบศิลปะการประดิษฐ์โคมไฟ
    2. ต้นแบบเหมือนจริงของศิลปะการประดิษฐ์โคมไฟ

8. การทบทวนวรรณกรรมและเอกสารอ้างอิง
ในการวิจัยเรื่องการออกแบบโคมไฟและลวดลายครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ตรงตามConcept ที่กำหนดไว้และเป็นงานที่ถูกต้องตามหลักทฤษฎีของสีและการจัดองค์ประกอบต่างๆ ในการออกแบบลวดลาย ผู้ศึกษาจึงใช้หลักการที่เกี่ยวข้องดังนี้
8.1 ทฤษฎี
8.1.1 การออกแบบลวดลาย
เนื้อหาที่เกี่ยวข้องก็คือ การรู้จักคิด วางแผน ในการสร้างสรรค์สิ่งที่มีอยู่แล้วนำมาปรับปรุง ดัดแปลงแก้ไข หรือสร้างสรรค์ใหม่โดยใช้วิธีการต่างๆ ทำให้เกิดความงาม เพื่อการประดิษฐ์ตกแต่งใหม่ให้เหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอย (เอมอร วิศุภกาญจน์,2542 : 2)
8.1.2 หลักการใช้สี
เนื้อหาที่เกี่ยวข้องก็คือ สีมีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกับมนุษย์เป็นอย่างมากในด้านของการรับรู้ อารมณ์ความรู้สึก การที่เราจะกำหนดสีลงในลวดลาย ผู้ออกแบบควรรับรู้หลักการใช้สีเพื่อจะได้กำหนดสีได้ถูกต้อง เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ และประโยชน์ใช้สอยอีกด้วย
(ดุษฎี สุนทรารชุน,2531 :107)
8.1.3 หลักการใช้สีประกอบร่วมแบบวรรณะ (TONE)
เนื้อหาที่เกี่ยวข้องก็คือ สีเราจะนำมาระบายนั้นส่วนใหญ่มักจะใช้สีประกอบร่วมแบบ
วรรณะใดวรรระหนึ่ง แล้วแต่จุดประสงค์ของผู้ที่ทำการออกแบบที่จะมุ่งที่ทำให้ผู้ดูเกิดความรู้สึก
ไปในทางร้อนหรือเย็น หรืออีกทางหนึ่งก็คือทำให้เกิดการผสมผสานและกลมกลืนกัน การใช้สี
ประกอบร่วมวรรณะจะไม่ใช้วรรณะใดวรรณะหนึ่งโดดเดี่ยว โดยกำหนดหลักการใช้สีไว้ ในอัตรา
50/50,60 /40,80/20 (คนึง จันทร์ศิริ:มปป.)

8.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
8.2.1 ศิริหนูแดง:โครงการออกแบบภาพประกอบทศชาติชาดก(เรื่องสุวรรณสาม)พบว่าการสร้างภาพประกอบทศชาติชาดกเป็นวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาเพื่อเป็นสื่อการเรียนการสอน และเป็นการสร้างสรรค์งานให้กับวิชาพระพุทธศาสนาของโรงเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาในรูปแบบภาพประกอบจิตรกรรม ให้มีสื่อการเรียนการสอนที่เข้าใจง่ายและประยุกต์ใช้ให้มีความร่วมสมัยมากขึ้นเพื่อที่จะได้สนุกกับการเรียนในวิชาพระพุทธศาสนา
8.2.2 โครงการออกแบบลายบอดี้เพ้นท์: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม พบว่า การนำจิตรกรรมไทยแบบร่วมสมัยมาทำการประยุกต์และนำเสนอในรูปแบบใหม่ ทำให้คนในยุคปัจจุบันได้เห็นว่าลวดลายไทยที่หล้าสมัยก็สามารถทำให้ร่วมสมัย และเกิดความแปลกใหม่ได้โดยการนำเอาการเพ้นท์มาผสมผสานถ่ายทอด เป็นงานบอดี้เพ้นท์ที่เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับสัตว์ป่าหิมพานต์ ที่เป็นเรื่องของวรรณคดี จิตกรรมฝาผนัง และประติมากรรมมาถ่ายทอด

9. ระเบียบวิธีวิจัย
9.1 ประชากร
กลุ่มผู้บริโภคgen….. จำนวน ..... คน
9.2 การสุ่มตัวอย่าง
ใช้การสุ่มแบบง่าย ตามสูตรยามาเน
จากนั้นจึงกำหนดกระบวนการตามกรอบการวิจัย โดยมีรายละเอียด ดังนี้
9.2.1 ขั้นตอนการวางแผนก่อนการผลิต (PRE-PRODUCTION)
- กำหนดประเด็นของปัญหา ตัวแปรต้น และตัวแปรตาม เพื่อ
ตั้งสมมติฐาน
- จัดทำแบบร่าง (IDEA SKETCH) และทำการสรุปแบบตามสมมติฐาน
(CONCEPT SKETCH)
9.2.2 ขั้นตอนการผลิต (PRODUCTION)
- แสดงกระบวนการผลิตต้นแบบเหมือนจริง
9.2.3 ขั้นตอนหลังการผลิต ( POST PRODUCTION)
-ประเมินผลด้วยเครื่องมือที่สร้างไว้โดยมีความสัมพันธ์กับลักษณะของ
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
- วิเคราะห์ข้อมูลและรายงานผลการวิจัยในรูปแบบความเรียง
9.3 เครื่องมือในการวิเคราะห์มูล
- แบบสอบถามความพึงพอใจในผลิตภัณฑ์
- แบบสัมภาษณ์
9.4 การวิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้
- วิเคราะห์โดยการหาค่าเฉลี่ย ( X ) จากร้อยละ

10. แผนการดำเนินงานตลอดโครงการ
กิจกรรม
.. 51
.. 51
.. 52
.. 52
หมายเหตุ
1.การวางแผนก่อนการผลิต
- ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล
- แบบร่าง
- สรุปแบบ








2.กระบวนการผลิต
- สรุปแบบ









3.กระบวนการหลังการผลิต
- ทดสอบสมมติฐาน
- วิเคราะห์ข้อมูล
- แปรผล
- เรียบเรียงรายงานการวิจัย



































11. รายละเอียดงบประมาณ
11.1 ค่าใช้สอย
ลำดับ

รายการ
ราคาต่อ
หน่วย
จำนวน
รวมเงิน
หมายเหตุ
1.
ค่าจ้างพิมพ์
10 บาท
200 แผ่น
2,000 บาท

2.
ค่าจ้างปริ้นสี
5 บาท
200 แผ่น
1,000 บาท

รวมเป็นเงิน
(…สามพันบาทถ้วน...)


3,000 บาท


11.2 ค่าวัสดุ (ค่าวัสดุที่ผลิตผลงานต้นแบบเหมือนจริง)
ลำดับ

รายการ
ราคาต่อ
หน่วย
จำนวน
รวมเงิน
หมายเหตุ
1.
โคมไฟที่ประดิษฐ์ไว้
- โคมไฟที่ประดิษฐ์ไว้ ขนาด 10*10 2 ใบ
- โคมไฟที่ประดิษฐ์ไว้ ขนาด10*15 2 ใบ
- โคมไฟที่ประดิษฐ์ไว้ ขนาด10*25 2 ใบ
250 บาท
235 บาท
250บาท


2 ใบ
2 ใบ
2 ใบ

500 บาท
470 บาท
500 บาท

2.
สีสำหรับเพ้นท์โคมไฟ 1 ชุด
- สีอคีลิค
- กระดาษสา กระดาษแก้ว

75 บาท
15 บาท

5 หลอด
10-15

375 บาท
155 บาท

รวมเป็นเงิน
(...สองพันบาทถ้วน...)


2,000 บาท

รวมงบประมาณทั้งสิ้นเป็นเงิน... 5,000… บาท
(...ห้าพันบาทถ้วน...)
หมายเหตุ : ถัวเฉลี่ยทุกรายการ


ลงชื่อ .............................................
( นาย นพรัตน์ ชูดรุ่ง )
ผู้ขอทุนวิจัย
......../........./..........


ประวัติผู้วิจัย




ชื่อ-สกุล นาย นพรัตน์ ชูดรุ่ง
Mr. NOPARAT CHOODRUNG
รหัสประจำตัว 5311322688
ที่อยู่ปัจจุบัน
room3206 20/259 LCP PLACE รัชดา36 แยก15 แขวงจันทรเกษม เขตจตุจักร กทม 10900

หมายเลขโทรศัพท์มือถือ 089-8418485
หมายเลขโทรศัพท์ที่พักอาศัย -
E-Mail:nezz_forever@hotmail.com noparat.nez8@gmail.com

ประวัติการศึกษา
- ประถมศึกษา โรงเรียนเทศบาล2มุขมนตรี
- มัธยมศึกษา วิทยาลัยเทคนิคอุดรธานี
- กำลังศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์)
ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม



…………………………………
( นาย นพรัตน์ ชูดรุ่ง )
ผู้วิจัย
วันที่......./เดือน..../..........